ข้อมูลโรงเรียนบ้านซับพระไวย์

ตราประจำโรงเรียน

สีประจำโรงเรียน

เขียน-ขาว

ประวัติโรงเรียนบ้านซับพระไวย์

โรงเรียนบ้านชัยพระไว้ ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 6 ตําบลโพนทอง อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ รหัสไปรษณีย์ 36000 เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก มีพื้นที่ จํานวน 10 ไร่ 3 งาน 17 ตารางวา

ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2502 เติบบอาคารเรียนแบบชั้นเดียวติดกับพื้นดิน เปิดทํา การสอบครั้งแรกตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยมี นายกรั่ง ศรีสุชาติ เป็นครูใหญ่

พ.ศ. 2519 คณะกรรมการหมู่บ้าน ชุมชน และผู้ปกครองนักเรียน ได้ร่วมกัน ก่อสร้างอาคารเรียน แบบ ป.1 ธ. ใต้ถุนเตี้ย โดยมีนายเรียบ แมนสถิต เป็นครูใหญ่ ซึ่งสังกัดอยู่ในกลุ่มโรงเรียนโพนทอง และเปิดทําการสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

พ.ศ. 2524 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน แบบ ป.1 6. ใต้ถุน สูง ขนาด 3 ห้องเรียน จํานวน 1 หลัง งบประมาณ 600, 000 บาท และได้ย้ายไป สังกัดกลุ่มโรงเรียนนาเสียว

พ.ศ. 2535 นายดํารงค์ ศรีวงษ์ชัย ได้ย้ายมาดํารงต่าแหน่งครูใหญ่ ได้มี การพัฒนาปรับปรุงร้านอาหาร สถานที่เพิ่มเติม คือ ต่อเติมใต้ถุนอาคารเรียนเป็น ท้องสํานักงานและร้องเรียน อาคารโรงอาการ สนามกีฬา สนามเด็กเล่น และ อาคารห้องสมุด พ.ศ. 2544 ได้ย้ายมา สังกัดศูนย์เครือข่ายโพนทอง

พ.ศ 2551 นายศุภสิน สมรรถชัย ได้ย้ายมาดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการ โรงเรียน

พ.ศ. 2558 นายวราเมธ ชูสกุล ได้ย้ายมาดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงรียน

พ.ศ. 2562 นางนิตยา นาส้มกบ ได้ย้ายมาดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงรียน


ชื่อภาษาไทย : โรงเรียนบ้านซับพระไวย์

ชื่อภาษาอังกฤษ : Bansubprawai School

ที่อยู่ : หมู่ที่ 6 ตําบลโพนทอง อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ รหัสไปรษณีย์ 36000

รหัสโรงเรียน 10 หลัก : 1036100073

รหัส Smis 8 หลัก : 36010067

รหัส Obec 6 หลัก : 100073

วิสัยทัศน์

โรงเรียนบ้านซับพระไวย์ พัฒนาการศึกษาได้มาตรฐานชาติ ประสานชุมชน บนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง สร้างชื่อเสียงด้านวิชาการ

อัตลักษณ์

นักเรียนมีความรับผิดชอบ

เอกลักษณ์

สะอาด ร่มรื่น น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน

พันธกิจ

1. จัดการศึกษาได้ตามมาตรฐานชาติ

2. นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร และมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น

3. การบริหารงานเป็นระบบ ชุมชนมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการจัดการศึกษา

4. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสมกับผู้เรียน และท้องถิ่นบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง

5. ครูจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

6. จัดหาสื่อการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ

7. ส่งเสริมสนับสนุนครูให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และวิทยฐานะที่สูงขึ้น

8. นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อตนเอง โรงเรียน และชุมชน

9. สถานศึกษาสะอาด ร่มรื่น น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน เหมาะสำหรับการจัดการศึกษา